วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2551

สำนักงานแบบใหม่

สำนักงานแบบใหม่ คือ การไม่ยึดติดกับอดีตหรือความสำเร็จเดิม ๆ เพราะว่าเวลานั้นเปลี่ยนแปลงไปตลอดจะต้องค่อยปรับปรุงให้ทันกับสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมภายนอกต่าง ๆ

1. การไม่ยึดติด ( Paradigm shift ) คือ การให้เปลี่ยนแปลงกรอบความคิดแบบเดิม ๆ โดยไม่ยึดติดกับความสำเร็จที่เคยมีมาก่อน เพราะสามารถถูกแทนที่ได้ด้วยความสำเร็จครั้งใหม่ที่ยิ่งใหญ่กว่าเดิม และยังไม่มีการพิสูจน์ใดสามารถบอกได้ว่าสิ่งที่เคยทำประสบความสำเร็จในอดีต จะต้องประสบความสำเร็จในอนาตคด้วยเช่นกัน
คำว่า "Paradigm shift" คือ แนวคิดแบบไม่ยึดติดสำหรับโลกยุคใหม่ที่ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ไม่มีความมั่งคงแน่นนอน อาจเกิดความล้มเหลวในเกิดการฉุกเฉินในสำนักงานได้ตลอดเวลา ผู้บริหารสำนักงานจึงต้องทิ้งวิธีการคิดแบบเดิม (Shift) นี้มามีวิธีการคิดแบบใหม่ ๆ เพื่อรับมือกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรุนแรง จากการโดยสังเขป อาจแสดงได้ดังนี้

2. การเรียนรู้ ( Learning ) คือ จากแนวคิดองคืกการเรียนรู้ของนักวิชาการที่ชื่อ Per semge ซึ่งกล่าวถึงวิธีการเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สำนักงานปรับตัวในยุคไร้พรมแดน โดยการสร้างองค์การหรือสำนักงานแหล่งการเรียนรู้ ด้วยวินัย 5 ประการ คือ
  1. การคิดเป็นระบบ (Systems thimking)

  2. วิศัยทัศน์ร่วมกัน (Shared vision)

  3. รูปแบบจิตใจที่ท้ายทาย (Challemgimg memtal models)

  4. การเรียนรู้แบบทีม (Team leaming)

  5. เจ้านายส่วนตัว (Terfonal maftery)

*ทั้ง 5 วินัยนี้ช่วยในผู้บริหารสำนักงาน เปลี่ยนวิธิคิดแบบเดิม และสร้างแนวคิดใหม่จนเกิดเป็นสำนักงานหรือองค์การเพื่อการเรียนรู้ โดยให้พนักงานทุกคนมองเห็นถึงปัญหา เพื่อมุ่งไปในเป้าหมายเดียวกัน คือ การพอใจของลูกค้า เป็นต้น

วิวัฒนาการเป็นองค์การเรียนรู้ มี 3 ขั้นตอน

ขั้นที่ 1.
  • มีสายบังคับบัญชาแบบดั้งเดิม แนวตั้ง

  • ผู้บริหารระดับสูงควบคุมสั่งการทุกสิ่งทุกอย่าง
ขั้นที่ 2.
  • เกิดสายงานแนวนอนหรือแบบเครืองข่าย

  • พนักงานทำงานเป็นทีมได้รับมอบอำนาจ มีความรับผิดชอบเพื่อคุณภาพงานที่ดี
ขั้นที่ 3.
  • สำนักงานแหล่งการเรียนรู้

  • พนักงานมองเห็นภาพรวมขององค์การมีข้อมูลทั่วถึง รวมทั้งกำหนดกลยุทธ์ และรับผิดชอบต่อความพอใจของลูกค้าสู่เป้าหมายเดียวกัน

ไม่มีความคิดเห็น: